วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุตสาหกรรม 2556

รายชื่อสมาชิก

1. อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค    อ. ปาล์ม
2. นาย วงศธร      อินทมะโน  พี่ หมีด
3. นายปรินทร์      ผุดผ่อง      บอล
4 นาย อาคม        เรืองกูล      แบงค์
5 นาย อภิวัฒน์     เจิมขวัญ    กุ้ง
6 นาย ชัยยงค์      ชูแก้ว         ปั๊ม
7 นาย วิโรจน์        เหมมาน    ลิฟ
8 นาย อนุพงษ์     เทพพรหม  ทิว
9 นาย กฤษกร      สุวรรณวงศ์ เอฟ
10นาย จตุพงค์      ณ สงขลา พงค์
11นายจิรกิตต์       สุขเกษม   บอย
12นายจิรพงศ์       แจ่มศรี      เอฟ
13นายเชิดชาย     เรืองฤทธิ์   ชาย
14นายตวิษ           เพ็งศรี       บ่าว
15นายธีรวุธ         ศรีสวัสดิ์     วุฒิ
16นายนพรัตน์      แก้วกำเนิด เอ็กช์
17นายนันทปรีชา  ปิยะบุญสนอง โปร
18นายนิรันดร์       เสมอพบ     แบ
19นายนิโรจน์       หวันปรัตน์   ซอล
20นายปภังกร       เอียดจุ้ย      กิ๊ฟ
21นายพิชชากร    มีบัว            กร
22นายพีระพงศ์    จันทร์ชู       พงศ์
23นายภาคภูมิ      จุลนวล       เจ
24นางสาวเยาวเรศ ร่วมพรภานุโรส
25นายรชต            อารี            รอน
26นายรุสดี            วารี            ซี
27นายวสุ              ราชสีห์       หนัง
28นายวัชรินทร์     เขียนวารี    ปอนด์
29นายวิฆเนส       ณ รังษี       หมู
30นายศุภวัฒน์     ไชยของพรม รุส
31นายสมประสงศ์ วงษ์สุวรรณ   ทู
32นายสมศักดิ์      มากเอียด    กล้วย
33นายสราวุฒิ       เกบหมีน     ซอล
34นายสานิต         มิตสุวรรณ   ปอ
35นายสุรเดช        สม่าแห        ยา
36นายสุรศักดิ์       สะเกษ        โจ้
37นายเสะมาดี      ตูแวดาแม    ดี
38นายอนิรุตต์       ภาระบุญ     โต๋
39นายอภิเดช       ทองอินทร์   โหนด
40นายอภิสิทธิ์      ยะโกบ         ดุล
41นายอับดุลรอมัม บูกา
42นายอับดุลเลาะ  กาโฮง       เลาะ
43นายอาจณรงค์    ราชูภิมนต์ มิค
44นายอารียะ         สะอุ            ฟาน
45นายอาหามะซุบฮี จะแน       มะ
46นายอิสมะแอ      มะยี
47นายจตุรงค์         หิรัญกูล      นิว
48นายเกรียงศักดิ์   บุญประเสริฐ เบียร์
49นายพุฒิพงศ์       หนูทอง       เพชร  

การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบ สมบูรณ์ 043

การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสมบูรณ์

เป็นการเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายเข้าด้วยกันแบบจุดต่อจุด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทุกๆ ตัว มีสายหรือสื่อส่งข้อมูลต่อเฉพาะระหว่างอุปกรณ์แต่ละตัว ทำให้มองดูเหมือนกับว่าระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัวมีถนนที่ใช้เฉพาะ 2 อุปกรณ์นั้นๆ  ดังนั้นถ้าเรามีอุปกรณ์ n ตัว แต่ละตัวต้องมีช่องทางสื่อสาร (channel) เท่ากับ n- 1 ช่อง และมีช่องทางทั้งหมดในเครือข่ายเท่ากับ n(n-1)/2 ช่อง ดังแสดงในรูปภาพ
ข้อดี
(1)  มีความเร็วในการสื่อสารข้อมูลสูง โปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมการสื่อสารก็เป็นแบบพื้นฐานไม่ซับซ้อนมากนัก
(2)  สามารถรับส่งข้อมูลได้ปริมาณมากและไม่มีปัญหาเรื่องการจัดการการจราจรในสื่อ ส่งข้อมูลไม่เหมือนกับแบบที่ใช้สื่อส่งข้อมูลร่วมกัน
(3) มีความทนทานต่อความเสียหายเมื่อสื่อส่งข้อมูลหรือสายใดสายหนึ่งเสียหายใช้ การไม่ได้ ไม่ส่งผลต่อระบบเครือข่ายโดยรวม แต่เกิดเสียหายเฉพาะเครื่องต้นสายและปลายสายเท่านั้น
(4)  ระบบเครือข่ายมีความปลอดภัยหรือมีความเป็นส่วนตัว เมื่อข่าวสารถูกรับส่งโดยใช้สายเฉพาะระหว่าง 2 เครื่องเท่านั้น เครื่องอื่นไม่สามารถเข้าไปใช้สายร่วมด้วย
(5) เนื่องจากโทโพโลยีแบบสมบูรณ์เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด ทำให้เราสามารถแยกหรือระบุเครื่องหรือสายที่เสียหายได้ทันที ช่วยให้ผู้ดูแลระบบแก้ไขข้อผิดพราดหรือจุดที่เสียหายได้ง่าย
  ข้อเสีย
(1) จำนวนสายที่ใช้ต้องมีจำนวนมากและอินพุด/เอาต์พุตพอร์ต (i/o port) ต้องใช้จำนวนมากเช่นกัน เพราะแต่ละเครื่องต้องต่อเชื่อมไปยังทุก ๆ เครื่องทำให้การติดตั้งหรือแก้ไขระบบทำได้ยาก
(2)  สายที่ใช้มีจำนวนมาก ทำให้สิ้นเปลืองพื้นที่ในการเดินสาย
(3) เนื่องจากอุปกรณ์ต้องการใช้อินพุด/เอาต์พุตพอร์ตจำนวนมาก ดังนั้นราคาของอุปกรณ์ต่อเชื่อมจึงมีราคาแพงและจากข้อเสียข้างต้นทำให้โทโพ โลยีแบบสมบูรณ์จึงถูกทำไปใช้ค่อนข้างอยู่ในวงแคบ

วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล 043

เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
               ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ทำให้เราหันมาให้ความสำคัญต่อการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์  ทำให้เราสามารถติดต่อเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้ทั่วโลก ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของอินเทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ   ก่อให้เกิดการนำเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุรกิจต่าง ๆ   เป็นการนำความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาสร้างทางเลือกในการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจต่าง ๆ ส่งผลให้เราสามารถลดต้นทุน ลดเวลาในการติดต่อสื่อสารส่งเสริมให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน  ซึ่งเหมาะกับสภาพขององค์กรในปัจจุบันที่ต้องการการแข่งขันที่ค่อนข้างสูง
             จากจุดเริ่มแรกทำให้มีการใช้บริการด้านการสื่อสารโทรคมนาคมเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเว็บไซต์เพื่อการพาณิชย์ต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดแรงผลักดันในการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว  เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปลี่ยนแปลงจากการสื่อสารแบบอนาล็อกเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายดิจิทัล  ทำให้มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้น และส่งข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก ลดความผิดพลาดในการส่งข้อมูล  ซึ่งสามารถส่งสารสนเทศทั้งที่เป็นข้อมูลประเภท เสียง และวิดีโอ ไปพร้อม ๆ กัน  อีกทั้งการใช้ดาวเทียมสื่อสารทำให้สามารถส่งข้อมูลภาพและเสียงข้ามซีกโลกได้อย่างรวดเร็ว  รวมทั้งการใช้เซลลูลาห์หรือเครือข่ายไร้สายอื่น ๆ   นับว่าเป็นการทำให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการใช้อุปกรณ์แบบพกพาแบบต่าง ๆ   ทำให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
1.1 องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล
               องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ส่วนแสดงดังรูปที่ 1



             

    
รูปที่ 1 องค์ประกอบการสื่อสาร

1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นแหล่งต้นทางของการสื่อสารโดยมีหน้าที่ในการให้กำเนิดข้อมูล หรือเตรียมข้อมูล เช่น ผู้พูด คอมพิวเตอร์ต้นทาง เป็นต้น
               2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นแหล่งปลายทางของการสื่อสาร หรือเป็นอุปกรณ์สำหรับข้อมูลที่จะนำข้อมูลนั้นไปใช้ดำเนินการต่อไป เช่น ผู้รับ คอมพิวเตอร์ปลายทาง เครื่องพิมพ์
               3.  ข่าวสาร (Massage) เป็นตัวเนื้อหาของข้อมูล ซึ่งมีได้หลายรูปแบบดังนี้ คือ
                    - ข้อความ (Text) ข้อมูลที่อยู่ในรูปอักขระ หรือเอกสาร เช่น ข้อความในหนังสือ เป็นต้น
                    - เสียง (Voice) ข้อมูลเสียงที่แหล่งต้นทางสร้างขึ้นมา ซึ่งอาจจะเป็นเสียงที่มนุษย์หรืออุปกรณ์บางอย่างเป็นตัวสร้างก็ได้
                     - รูปภาพ (Image) เป็นข้อมูลที่ไม่เหมือนข้อความตัวอักษรที่เรียงติดต่อกัน แต่จะมีลักษณะเหมือนรูปภาพ เช่น การสแกนภาพเข้าคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลรูปภาพกับข้อมูลข้อความ แล้วรูปภาพจะมีขนาดใหญ่กว่า
                     - สื่อผสม (Multimedia) ข้อมูลที่ผสมลักษณะของทั้งรูปภาพ เสียงและข้อความเข้าด้วยกัน โดยสามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเรียนผ่านระบบ VDO conference เป็นต้น โดยข้อมูลจะมีขนาดใหญ่มาก
4. สื่อกลางหรือตัวกลางในการนำส่งข้อมูล (Medium) เป็นสื่อหรือช่องทางที่ใช้ในการนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ซึ่งอาจเป็นตัวกลางที่มีสายสัญญาณ เช่น สายไฟ หรือตัวกลางที่ไม่ใช้สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็นต้น
               5. โปรโตคอล (Protocol) เป็นข้อกำหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับมีความเข้าใจตรงกัน

*แหล่งที่มา http://www.sema.go.th

การวิเคราะห์ เกี่ยวกับเรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
     เทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกวันนี้พัฒนาขึ้นมาก อย่างเช่น โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ทำไห้คนในปัจจุบันนี้มีความสะดวกและรวดเร็วในการสื่อสารทางไกลหรือใกล้




วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ประวัติส่วนตัว

นายอานนท์ นาควิเชียร (นนท์)

ที่อยู่ จังหวัด สงขลา

เบอร์โทร 087-4775832